ค้นหาข้อสอบ ในเว็บไซต์แห่งนี้

Saturday, November 28, 2009

แบบทดสอบครูชำนาญการพิเศษ

ข้อสอบครูชำนาญการพิเศษ ข้อสอบครูชำนาญการพิเศษ,สอบครูชำนาญการพิเศษ
http://oopps.bloggang.com
http://sobkroo.blogspot.com/

ฉบับปรับปรุง
แบบทดสอบครูชำนาญการพิเศษ ชุดที่ 1

1. ข้อใดเป็นหลักการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2544
ก. เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยในตนเอง ปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอนของพระพุธศาสนา
ข. เป็นการศึกษาเพื่อปวงชน ทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกันโดยสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ค. มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน รักการอ่านรักการเขียน และรักการค้นคว้า
ง. มีทักษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ทักษะในการดำรงชีวิต
จ. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย
2. ข้อใดเป็นสาระการเรียนรู้เสริมสร้างพื้นฐานความเป็นมนุษย์และสร้างศักยภาพในการคิดและการทำงานอย่างสร้างสรรค์
ก. ภาษาไทย ข. คณิตศาสตร์ ค. วิทยาศาสตร์
ง. สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม จ. ภาษาต่างประเทศ
3. สถานศึกษาต้องจัดการเรียนรู้ให้ครบ 8 กลุ่มทุกชั้นให้สอดคล้องกับสิ่งใดตามแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก. เหมาะสมกับธรรมชาติของนักเรียนและระดับการพัฒนาของผู้เรียน
ข. เหมาะสมกับธรรมชาติของนักเรียน
ค. ระดับการพัฒนาของผู้เรียน
ง. จุดประสงค์การเรียน
จ. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง





6.โรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ให้ใช้ครบทุกชั้นเรียนตรงกับข้อใด
ก. 2555 ข. 2554 ค. 2553 ง. 2552 จ. 2551
7.มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกายความรู้คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลเมืองโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบบประชาธิปไตยโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ จากข้อความที่กำหนดให้สัมพันธ์กับข้อใดตามหลักสูตรแกนกลาง 2551
ก.วิสัยทัศน์ ข. หลักการ ค. จุดหมาย
ง.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน จ. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
8.ข้อใดไม่ใช่หลักการของหลักสูตรแกนกลาง 2551
ก.เป็นหลักสูตรเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ
ข.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน
ค.เป็นหลักสูตรที่สนองการกระจายอำนาจ
ง.เป็นหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
จ. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมีสุขนิสัยและรักการออกกำลังกาย
9.การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่นเป็นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนด้านใด
ก.ความสามารถในการสื่อสาร ข. ความสามารถในการคิด
ค.ความสามารถในการแก้ปัญหา ง. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต จ .ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
10. ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลาง 2551
ก. ซื่อสัตย์สุจริต ข. มีน้ำใจ ค. มีวินัย
ง. ใฝ่เรียนรู้ จ. อยู่อย่างพอเพียง




14. เข้าใจมีทักษะที่จำเป็นมีประสบการณ์เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ สอดคล้องกับสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ก.การอาชีพ ข. การออกแบบและเทคโนโลยี
ค. การดำรงชีวิตและครอบครัว
ง. เทคโนโลยีสาระสนเทศและการสื่อสาร
จ. ถูกทุกข้อ
15. ข้อใดไม่ใช่ภาษาต่างประเทศ
ก.ภาษาเพื่อการสื่อสาร
ข. ภาษาและวัฒนธรรม
ค. ภาษากับความสำพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
ง.วรรณคดีและวรรณกรรม
จ.ภาษากับความสำพันธ์กับชุมชนและโลก
16.สาระกรเรียนรู้ภาษาไทยมีกี่สาระและกี่มาตรฐาน
ก. 6,19 ข. 8,13 ค. 5,12
ง. 3,6 จ. 5,6
17. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของภาษาไทย
ก.เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
ข. ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีเหตุผลเป็นระบบ
ค.เป็นเครื่องมือแสวงหาความรู้
ง.เป็นเครื่องมือสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
จ.เป็นเครื่องมือสร้างเอกภาพของชาติ
18. การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในกลุ่มภาษาไทยครูควรคำนึงให้ความสำคัญในการเรียนข้อใดไม่จำเป็น
ก.การเรียนรู้อย่างมีความสุข ข. การเรียนรู้แบบองค์รวม ค. การเรียนรู้แบบธรรมชาติ
ง.การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
จ. การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้




23. คณิตศาสตร์มีกี่สาระ และมาตรฐานตรงกับข้อใด
ก. 3,6 ข. 6,19 ค. 8,13 ง. 5,12 จ. 4,8
24. Measurement ตรงกับข้อใด
ก.การวัด ข. จำนวนและการดำเนินการ ค. เรขาคณิต ง. พีชคณิต
จ. ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
25. เป็นครูคณิตศาสตร์ จัดการเรียนรู้ให้เด็กมีคุณภาพ ต่อไปนี้ข้อใดเป็นคุณภาพผู้เรียนด้านความรู้ ( K )
ก.แก้ปัญหาด้วยวิธีหลากหลาย
ข.มีระเบียบวินัย
ค. มีความรอบคอบ
ง.มีความรู้ความเข้าใจในคณิตศาสตร์พื้นฐานเกี่ยวกับจำนวนและสัมพันธ์
จ. การใช้เหตุผลการสื่อสารสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
26. การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษาตรงกับ ม.24แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542 และแก้ไปเพิ่มเติมซึ่งครูคณิตศาสตร์ต้องให้ความสำคัญและคำนึงถึงตรงกับข้อใด
ก.การจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
ข.ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน
ค.จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ง.ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียน อำนวยความสะดวก ใช้วิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
จ. ถูกทุกข้อ
27.การที่จัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญและมุ่งหวังให้ผู้เรียนบรรลุมาตรฐานการเรียนรู้ ปัจจัยสำคัญของการจัดการเรียนรู้ข้อใดไม่ใช่
ก. ผู้บริหาร ข. ผู้สอน ค. ผู้เรียน
ง. สภาพแวดล้อม จ. โครงสร้างหลักสูตร


33.ขั้นตอนใดไม่ใช่การประเมินการเรียนรู้
ก. การวางแผนการประเมิน
ข. สร้างคำถามหรืองานและเกณฑ์ให้คะแนนสอดคล้องกับสาระและผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง
ค.จัดระบบข้อมูลการวัด ง.กระบวนการแก้ปัญหา
จ.นำข้อมูลจากการวัดมามาวิเคราะห์และสังเคราะห์
34.วิทยาศาสตร์มีสาระและมาตรฐานตรงกับข้อใด
ก.8,13 ข. 5,12 ค. 3,6 ง. 4,8 จ. 5,6
35.ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ก.เพื่อให้เข้าใจหลักการทฤษฏีที่เป็นพื้นฐาน
ข.รู้กระบวนการคณิตศาสตร์
ค.เพื่อให้เข้าใจขอบเขตธรรมชาติข้อจำกัด
ง.เพื่อให้มีทักษะสำคัญในการศึกษาค้นคว้า
จ.เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
36.ทฤษฏีการพัฒนาการทางสติปัญญาซึ่งนำมาใช้จัดการเรียนรู้กลุ่มสาระเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ใครเป็นผู้เสนอแนวคิดพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กตั้งแต่แรกเกิดจนสู่วัยผู้ใหญ่ แบ่งเป็น 4 ระยะ
ก.Jean Piaget ข. Bruner ค. Gagne
ง. David P Ausubel จ.John Dewey
37.การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกแก้ปัญหาต่างๆเมื่อผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติอย่างมีระบบ ผลที่ได้ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนกระบวนการแก้ปัญหา
ก. ทำความเข้าใจปัญหา ข. วางแผนแก้ปัญหา
ค. รายงานผล ง. ดำเนินการแก้ปัญหา
จ. ตรวจสอบการแก้ปัญหา
38.แนวทางการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ข้อใดไม่ใช่
ก.ต้องวัดผลให้ครอบคลุมทุกด้าน
ข.เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถ
ค.วิธีการวัดผลและประเมินผลต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
ง.เก็บข้อมูลอย่างตรงไปตรงมา
จ.เที่ยงตรง เป็นธรรมกับวิธีการวัด

46. สาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพละศึกษามีสาระและมาตรฐานตามข้อใด
ก.5,12 ข. 3,6 ค. 4,8 ง. 5,6 จ. 8,13
47. มาตรฐานป้องกันหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรงตรงกับสาระใด
ก.การเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
ข.ชีวิตและครอบครัว
ค.การเคลื่อนไหวออกกำลังกาย
ง.สร้างเสริมสุขภาพ และป้องกันโรค
จ.ความปลอดภัยในชีวิต
48. เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ของสุขศึกษาตามระบบข้อใดไม่ใช่
ก. ปัจจัยนำเข้า
ข. การเรียนการสอน
ค. กระบวนการ
ง. ผลลัพธ์
จ. ผลกระทบ
49. การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพละศึกษา กำหนดยุทธศาสตร์กระบวนการเรียนการสอนกี่ประการ
ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6 จ. 7
50. National Health Diseiplihes ตรงกับข้อใด
ก. สุขบัญญัติแห่งชาติ ข. สุนทรียภาพของการเคลื่อนไหว
ค. อนามัยการเจริญพันธุ์ ง. อัตราการเต้นสูงสุดของหัวใจ
จ. องค์ประกอบของร่างกาย
51.ศิลปะมีสาระและมาตรฐานตรงกับข้อใด
ก. 5,12 ข. 4,8 ค. 3,6 ง. 5,6 จ. 8,13
52. สาระดนตรีสอดคล้องกับมาตรฐานใด
ก. วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์
ข. เข้าใจความสำพันธ์ต่างๆระหว่างทัศนศิลป์
ค. แสดงออกนาฏศิลป์
ง. เข้าใจการแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์
จ. เข้าใจความสำพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์

59. ขั้นตอนแนวทางการจัดสาระของหลักสูตรกลุ่มการงานอาชีพฯ ประกอบด้วย
ก.กำหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้น, กำหนดสาระการเรียนรู้รายปี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี
ข. กำหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้น,กำหนดสาระการเรียนรู้รายปี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี ,จัดทำคำอธิบายรายวิชา
ค.กำหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้น, กำหนดสาระการเรียนรู้รายปี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี , จัดทำคำอธิบายรายวิชา
จัดทำหน่วยการเรียนรู้
ง.กำหนดสาระการเรียนรู้ช่วงชั้น, กำหนดสาระการเรียนรู้รายปี ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี ,จัดทำคำอธิบายรายวิชา
จัดทำแผนการเรียนรู้
จ. ถูกทุกข้อ
60.การจัดการเรียนรู้จำเป็นต้องมีลักษณะยึดผู้เรียนเป็นสำคัญยกเว้น
ก. ครบองค์ความรู้ของการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
ข. กำหนดเป็นโครงงาน
ค. จัดให้ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
ง. คำนึงถึงความต้องการ
จ. เน้นรูปแบบเดียว
61.รูปแบบการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สำหรับกลุ่มการงานอาชีพฯข้อใดไม่ใช่
ก. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
ข.การเรียนรู้ยึดครูเป็นศูนย์กลาง
ค. การเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้า
ง. การเรียนรู้จากประสบการณ์
62. แนวทางการวัดผลกลุ่มการงานอาชีพฯ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. วัดครอบคลุมทุดด้าน
ข. วิธีวัดสอดคล้องกับมาตรฐาน
ค. ครูเป็นผู้วัดผลฝ่ายเดียว
ง. มีความเที่ยงตรงเป็นธรรม
จ. เก็บรวบรวมข้อมูลตามสภาพจริง

69. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบอิงมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มภาษาต่างประเทศใช้หลักการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ ( Back ward Design ) มีกระบวนการกี่ขั้นตอน
ก. 6 ข. 5 ค. 4
ง. 3 จ. 2
70. องค์ประกอบของคำอธิบายรายวิชายกเว้น
ก. ชื่อรายวิชา ข. จำนวนเวลา ค. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ง. สาระการเรียนรู้รายวิชา จ. หน่วยการเรียนรู้
71. หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยประกอบด้วย
ก. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ จำนวนเวลาสำหรับการเรียนรู้
ข. ชื่อรายวิชา จำนวนเวลา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ค. ชื่อรายวิชา จำนวนเวลา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง สาระการเรียนรู้
ง. คำอธิบายรายวิชา มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
จ. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
72. การนำคำอธิบายรายวิชาตามหลักสูตร ผลการวิเคราะห์หลักสูตร สาระ มาตรฐานการเรียนรู้มาจัดทำเป็นหน่วยย่อยแล้วนำไปบูรณาการกันกับกลุ่มสาระอื่นๆ สอดคล้องกับข้อใด
ก. หน่วยการเรียนรู้ ข. หน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ ค. แผนการจัดการเรียนรู้ ง. คำอธิบายรายวิชา จ. ถูกทุกข้อ
73. การจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการตามสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กำหนด 2 วิธี สำหรับวิทีที่ 1 มีส่วนประกอบที่สำคัญข้อใดไม่ใช่
ก. กำหนด ประเด็น หัวข้อเรื่อง
ข. วิเคราะห์และกำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ค. พัฒนาหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ง. แผนการจัดการเรียนรู้ จ. ประเมินผลหน่วยการเรียนรู้
74.การเขียนจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมควรครอบคลุมกี่ด้าน
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 จ. 6
.4. การจักหลักสูตรสถานศึกษา 2544 ช่วงชั้นที่ 1-2 สอดคล้องกับข้อใด
ก. มุ่งเน้นการศึกษาเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะเฉพาะด้านมุ่งปลูกฝังความรู้ ความสามารถ และทักษะทางวิทยาการ และเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการศึกษาต่อ
ข. มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสำรวจความสามารถความถนัดความสนใจของตนเองพัฒนาบุคลิกภาพส่วนตน ทักษะพื้นฐานในการดำรงชีวิต
ค. มุ่งเน้นให้ผู้เรียนพัฒนาคุณภาพชีวิต กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมทักษะพื้นฐานด้านการอ่าน การเขียนการคิดคำนวณ
ง. เน้นการบูรนาการอย่างสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม
จ. ค และ ง ถูก
5.กำหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเกณฑ์ในการกำหนดคุณภาพของผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียน สถานศึกษากำหนดเพิ่มเติมต่อไปนี้ ข้อใดตรงกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์
ก. มาตรฐานใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และนำไปแก้ปัญหา
ข. การวัดมาตรฐานเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับเกี่ยวกับการวัด
ค. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมมาตรฐาน เข้าใจความสำคัญของธรรมชาติ
ง.ประวัติมาตรฐานเข้าใจความเป็นมาของชาติไทย
จ. การอาชีพมาตรฐาน เข้าใจมีทักษะมีประสบการณ์ในงานอาชีพสุจริต



11. เป็นเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียน ระบุสิ่งที่ผู้เรียนควรรู้ ปฏิบัติได้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกจากนี้ยังสะท้อนให้ทราบว่า ต้องทำอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไรและเป็นเครื่องมือในการประกันคุณภาพ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข. มาตรฐานการเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
ค.กิจกรรมการพัฒนาผู้เรียน
ง. จุดหมาย จ. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
12.ระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้ และปฏิบัติได้รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจง และมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ในการกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้จัดการสอนและเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัดประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียนสำพันธ์กับข้อใดมกที่สุด
ก.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ข. จุดหมาย ค. ตัวชี้วัด ง. สาระการเรียน จ. วิสัยทัศน์
13. ผู้เรียนทุกคนจะต้องมีองค์ความรู้ ทักษะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำเป็นต้องเรียน แบ่งเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้ ครูชำนาญการพิเศษคิดว่า ข้อใดสำพันธ์กับสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมากที่สุด
ก.ภูมิใจในภาษาประจำชาติ
ข. นำความรู้ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ไปใช้แก้ปัญหา การดำเนินชีวิต
ค.นำความรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ศึกษาหาความรู้
ง.ความรู้ทักษะ คิดริเริ่ม จินตนาการสร้างสรรค์งานศิลปะ
จ.การอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข





19.ได้รับแต่งตั้งเป็นครูชำนาญการพิเศษ สาขา ภาษาไทย แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้บรรลุมาตรฐานจะต้องศึกษาวิเคราะห์สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น จัดทำสาระการเรียนรู้ช่วงชั้นผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายปี สระการเรียนรู้รายปี และจัดทำการอธิบายรายวิชาก่อนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ ครูผู้สอนจะต้องดำเนินสิ่งใดก่อน
ก.เลือกรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ข.คิดค้นเทคนิคกลวิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ค.จัดกระบวนการเรียนรู้
ง.การเรียนรู้แบบโครงงาน
จ.ถูกข้อ ก,ข,ค
20. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูภาษาไทย ได้แก่
ก.การเรียนรู้แบบโครงงาน ข. การเรียนรู้โดยกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
ค.การเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด 6 ใบ
ง. การสอนด้วย Story Line จ. ถูกทุกข้อ
21. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ภาษาไทย ครูผู้สอนต้องเข้าใจหลักการของการเรียนภาษาไทย เพื่อเป็นพื้นฐานของการดำเนินงาน ยกเว้นข้อใด
ก.ทักษะทางภาษามีความสำคัญเท่าๆกัน
ข.ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษาพร้อมกับการพัฒนาความคิด
ค.การเก็บรวบรวมข้อมูล
ง.ภาษากับวัฒนธรรมมีความสำพันธ์อย่างใกล้ชิด
จ.ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของการเรียนรู้
22. ข้อใดเป็นวิธีเก็บรวบรวมข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียนของครูภาษาไทย
ก.การให้ตอบแบบทดสอบ
ข. การดูจากผลงาน
ค. ดูการปฏิบัติ
ง. ดูกระบวนการ
จ. ถูกทุกข้อ

28.ข้อใดไม่ใช่บทบาทที่ดีของครูผู้สอนคณิตศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก.มีความรู้และประสบการณ์
ข. รู้จักธรรม เข้าใจความต้องการของผู้เรียน
ค.ปรับปรุงพัฒนาเองบางโอกาส
ง. มีความสามารถการจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
จ. มีคุณธรรม จริยธรรม
29. รูปแบบของการจัดการเรียนรู้มีหลายรูปแบบ ผู้สอนสามารถนำไปจัดให้เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลาเรียนของผู้เรียนต่อไปนี้ข้อใดไม่ใช่รูปแบบการเรียนรู้
ก.การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
ข.การพัฒนาทักษะ
ค.การเรียนรู้จากการศึกษาค้นคว้า
ง.การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
จ.การเรียนรู้จากการใช้คำถามประกอบการอธิบายและแสดงเหตุผล
30. การพัฒนาทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ข้อใดไม่ใช่
ก.กระบวนการสร้างค่านิยม ข. กระบวนการแก้ปัญหา
ค. กระบวนการใช้เหตุผล ง. กระบวนการสื่อสาร
จ. กระบวนการเชี่ยมโยง
31. กระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์มีกี่ขั้นตอน
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 จ. 6
32.ข้อใดไม่ใช่หลักการของการประเมินผลการเรียนรู้กลุ่มสาระคณิตศาสตร์
ก.กระทำอย่างต่อเนื่อง
ข. ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนการสอน
ค.สอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมายการเรียนรู้
ง.ประเมินผลทักษะมีความสำคัญเท่ากับการวัดความรู้ความเข้าใจเนื้อหา
จ.การประเมินผลไม่ช่วยให้ผู้เรียนกระตือรือร้น



39.ต่อไปนี้การวัดผลวิทยาศาสตร์ ต้องได้ข้อมูลและวิธีการวัดหลากหลายตรงกับข้อใด
ก. ชิ้นงาน ผลงาน รายงาน
ข. การสัมภาษณ์
ค. การวัดและประเมินผลกลุ่มวิทยาศาสตร์
ง. แฟ้มสะสมงาน จ.ถูกทุกข้อ
40.สาระและมาตรฐาน กลุ่มสังคมศึกษา ฯ ตรงกับข้อใด
ก. 5,12 ข. 3,6 ค. 4,8 ง. 5,6 จ. 8,13
41.สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ จำเป็นต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีความเจริญงอกงามด้านใดบ้าง
ก. ความรู้ ข. ทักษะกระบวนการ
ค. เจตคติ ง. ค่านิยม จ. ถูกทุกข้อ
42.หลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ ข้อใดไม่ใช่
ก.จัดการเรียนที่มีความหมายเน้นแนวคิดสำคัญๆ
ข.บูรณาการ ค. เน้นพัฒนาค่านิยม จริยธรรม
ง. การตีความ จ. เน้นการปฏิบัติ
43.การสอนบูรณาการ ตามการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ มี 4 ขั้นตอนข้อใดไม่ใช่
ก.นำเข้าสู่บทเรียน ข. ลงมือปฏิบัติ ค. วางแผน
ง. สรุปเสนอผล จ. ประเมินผล
44. การจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ วิธีที่จะให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและ จัดการกับการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ข้อใดไม่ใช่
ก.ใช้วิธีการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ
ข.เน้นการสอนพัฒนาการคิด
ค.ส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหารูปแบบการเรียน
ง.ส่งเสริมผู้เรียนใช้เทคโนโลยี
จ. ผู้เรียนไม่มีโอกาสทำงานร่วมกัน
45.การจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ยุทธวิธีการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมได้แก่
ก.การระดมสมอง
ข. การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ค. Jigzaw
ง. การอ่านร่วมกันในกลุ่ม จ. ถูกทุกข้อ

53.ข้อใดเป็นยุทธศาสตร์การเรียนรู้ศิลปะ
ก. การเรียนรู้แบบพัฒนาความสามารถในกระบวนการคิดของผู้เรียน
ข. การเรียนรู้แบบการสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเอง
ค.การเรียนรู้แบบประเมินตนเอง
ง.การเรียนรู้แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง
จ. ถูกทุกข้อ
54. การวัดและประเมินผล กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะครอบคลุมกี่ด้าน
ก. 5 ข. 4 ค. 3 ง. 6 จ. 7
55. การงานอาชีพ และเทคโนโลยีมีสาระมาตรฐานตรงกับข้อใด
ก. 5,12 ข. 5,6 ค. 4,8 ง. 3,6 จ. 8,13
56. ข้อใดไม่ใช่ขอบข่ายสาระกลุ่มการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ก. ความปลอดภัยในชีวิต ข. การงานอาชีพ
ค. การออกแบบและเทคโนโลยี ง. เทคโนโลยีสารสนเทศ จ. การดำรงชีวิตและครอบครัว
57. สาระการดำรงชีวิตและครอบครัวประกอบด้วยงานต่างๆ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. งานบ้าน ข. งานเกษตร ค. งานผลิต
ง. งานประดิษฐ์ จ. งานธุรกิจ
58. ข้อใดกล่าวผิดเกี่ยวกับแนวทางการจัดหลักสูตรกลุ่มการงานอาชีพฯ
ก. แต่ละช่วงชั้นจัดให้ครบ 5 สาระ ยกเว้นช่วงชั้นที่ 1 ไม่จัดสาระที่ 2 การงานอาชีพ
ข. สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัวแต่ละช่วงชั้นจัดให้ครบ 5 งาน
ค. สาระที่ 2 การอาชีพจัดตั้งแต่ละช่วงชั้นที่ 2
ง. สาระที่ 3 การออกแบบและเทคโนโลยีทุกช่วงชั้นต้องจัด
จ. สาระที่ 4 เทคโนโลยีสาระสนเทศ ช่วงชั้นที่ 1
ยังไม่ควรจัด


63. ภาษาต่างประเทศมีสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ตรงกับข้อใด
ก. 5,12 ข. 5,6 ค. 4,8 ง. 3,6 จ. 8,13
64. ลำดับความสามารถของผู้เรียนภาษาและพัฒนาการของผู้เรียนกำหนดกี่ระดับ
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 จ. 6
65. การเรียนรู้แบบบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ สามารถทำได้โดยกำหนดแก่นสาระหรือเรื่องหลัก (Theme ) ทำได้กี่วิธี
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 จ. 6
66. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการสอนแบบร่วมมือกรณีใช้สอนกลุ่มภาษาต่างประเทศ
ก. Team-Game Tournament.
ข. Student Achievement Divisions.
ค. Team Assisted lndividualization.
ง. Cooperatire lntegrated Rxading and eomposstson.
จ. Progeet basad Learning.
67.การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการงานตามแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศครูควรมีบทบาทตามข้อใด
ก. จัดเตรียมภาระงาน ข. เป็นที่ปรึกษา ค. สร้างบรรยากาศที่ดี ง. มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้เรียน จ. ถูกทุกข้อ
68. การประเมินตามสภาพจริง กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ ผู้สอนต้องเลือกวิธีคิดและเครื่องมือให้เหมาะสมประกอบด้วยการสัมภาษณ์ การสังเกต การประเมินตนเอง การใช้แบบทดสอบถามที่เป็นอัตนัย หรือ แบบปรนัย ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ทดสอบปรนัย
ก. การเลือกคำตอบ ข. แบบอัตนัย ค. แบบถูก-ผิด
ง. แบบจับคู่ จ. แบบเติมข้อความ



75.หลักการเขียนแบบจัดการเรียนรู้ ในการเขียนสาระสำคัญต้องสัมพันธ์กับสิ่งใดมากที่สุด
ก.จุดประสงค์การเรียนรู้ ข สาระการเรียนรู้
ค.กิจกรรมการเรียนรู้ ง.สื่อและแหล่งเรียนรู้
จ. ถูก ก และ ข
76.จุดประสงค์เชิงพฤติกรรมเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญที่สมบูรณ์ประกอบด้วย 3 ส่วนข้อใดไม่ใช่
ก.พฤติกรรมผู้เรียน ข. สถานการณ์หรือเงื่อนไขเวลา
ค.เกณฑ์หรือตัวชี้วัด ง. มาตรฐาน จ. ข้อ ง ผิด
77.กิจกรรมการเรียนรู้ผู้สอนต้องมีบทบาทอย่างไรตามแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก. ผู้สนับสนุน ข. ผู้บอก ค. ผู้สั่ง
ง. ผู้สอน จ. ผู้ปฏิบัติ
78.เป็นการบูรณาการ ยกเว้นข้อใด
ก.แบบสอดแทรก ข. คู่ขนาน ค. แบบอื่นๆ
ง. สหวิทยาการ จ. แบบข้ามวิชา
79. กิจรรมการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญจัดให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ผู้สอนจำเป็นต้องวิเคราะห์
ก.จุดหมายหลักสูตร ข. มาตรฐานการเรียนรู้ในสาระนั้น
ค.เอกสารประกอบหลักสูตร
ง.ผู้สนับสนุน
จ.ข้อ ก ข ค ถูก
80.ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบสำคัญของแผนการจัดการเรียนรู้
ก. สาระสำคัญ ข. จุดประสงค์การเรียนรู้
ค. ผู้ตรวจ ง. สาระการเรียนรู้ จ. กิจกรรมการเรียน
81. ข้อใดเป็นขั้นตอนการจัดทำแผนการเรียนรู้
ก. วิเคราะห์ คำอธิบายรายวิชา สาระการเรียนรู้รายปี หน่วยการเรียนรู้
ข. วิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ค. วิเคราะห์ กระบวนการจัดการเรียนรู้
ง. วิเคราะห์ กระบวนการประเมินผล
จ. ถูกทุกข้อ




82. การจัดทำแผนการเรียนรู้ในขั้นตอนการวิเคราะห์การบวนการวัดผลข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. วิธีวัดผลประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
ข. ใช้วิธีวัดที่หลากหลาย
ค. มีความสนใจสำหรับผู้เรียน
ง. เลือกใช้เครื่องมือที่มีความเชื่อมั่น
จ. แปลผลการวัดและประเมินเพื่อนำไปสู่การพัฒนาและปรับปรุง
. 83.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการวิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ในการจัดทำแผนการเรียนรู้
ก.จัดสาระที่เรียนรู้เรียงลำดับจากง่ายไปยากและต่อเนื่อง
ข.ผู้เรียนทำกิจกรรมเหมือนกัน
ค.เลือกรูปแบบการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
ง.เน้นกิจกรรททีมมากกว่ารายบุคคล
จ.กิจกรรมที่ปฏิบัติสอดคล้องกับชีวิตจริง
84.ลักษณะของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีข้อใดกล่าวผิด
ก.จุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมสาระเนื้อหาจุดพัฒนา
ข.กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหาสาระ
ค.วัตถุอุปกรณ์ สื่อ แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ ง.วัดผลประเมินสอดคล้องกับจุดประสงค์
จ.แผนที่ดีต้องนำไปปฏิบัติไม่ได้















ฉบับปรับปรุง
แบบทดสอบชำนาญการพิเศษ ชุด 2

1. ข้อใดเป็นเป้าหมายสูงสุดการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก. เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข(คุณภาพของคนไทย)
ข.ในกระบวนการเรียนรู้มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง
ค. การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ
ง. การจัดการศึกษาทั้ง 3 รูปแบบ ต้อนงเน้นความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้บูรณาการตามความเหมาะสม
จ. การจัดการะบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ต้องจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
2. หลักการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญข้อใด
กล่าวผิด
ก. จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
ข. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง
ค. จัดกิจกรรมให้ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
ง. จัดกิจกรรมผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ
ได้สัดส่วนสมดุล
จ. จัดกิจกรรมควรคำนึงถึงวามถนัดของครู
3. ความหมายของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ข้อใดกล่าวถูก
ก. เป็นการเรียนรู้ที่มุ่งประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน
ข. สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
ค. ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
ง. มีทักษะการแสวงหาความรู้ สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
จ. ถูกทุกข้อ
4. จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ครูผู้สอนตัองคำนึงถึง ยกเว้น
ก. วุฒิภาวะทางอารมณ์(Emotional Quotient)
ข. พหุปัญญา(Multiple Intelligenose)
ค. วิธีการเรียนรู้ของแต่ละคน
ง. ผู้เรียนไม่จำเป็นต้องเรียนในสิ่งที่สนองความต้องการ
จ. ความสนใจ ความถนัด สภาพความเป็นอยู่และครอบครัว
5. ข้อใดไม่ใช่การเรียนรู้ 5 ลักษณะ ตามแนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก. เรียนรู้อย่างมีความสุข
ข. เรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
ค. การเรียนรู้แบบสืบสวน
ง. การเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น
จ.เรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
6.บทบาทผู้เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญของผู้ปกครอง ข้อใดกล่าวผิด
ก.สนับสนุนกิจกรรมของสถานศึกษา
ข. เป็นเวทีการเรียนรู้
ค. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ภายในบ้าน
ง. ร่วมตัดสินใจเลือกแผนการเรียนรู้


7. ตัวบ่งชี้ที่บอกให้รู้ว่าครูจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ข้อใดกล่าวผิด
ก. มีการจัดกิกกรรมหลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติผู้เรียน
ข. มีการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนฝึกค้นคว้า สังเกต รวบรวมข้อมูล สังเคราะห์ คิด อย่างหลากหลาย สร้างความรู้ด้วยตนเอง
ค. มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีและสื่อที่เหมาะสมมาใช้
ง. มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ไม่หลากหลาย ไม่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
จ. มีการจัดกิจกรรมเพื่อฝึกและส่งเสริมคุณธรรมละจริยธรรมของผู้เรียน
8. เป็นลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งมีองค์ประกอบที่สำคัญ ยกเว้น
ก. แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
ข. การประเมินผลหลากหลาย
ค.รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลาย
ง. หลักสูตร ครู ผู้บริหาร ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วม
จ. เพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข (คุณภาพของคนไทย)
9. เป้าหมายสูงสุดของการปฏิรูปการเรียนรู้ ผู้เรียน มีลักษณะตรงกับข้อใด
ก. เพื่อให้เป็นคนดี ข. เพื่อให้เป็นคนเก่ง
ค. เพื่อให้เป็นคนที่มีความสุข ง. เพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง
จ. เพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข
(คุณภาพของคนไทย)







14. การเรียนรู้ที่ดีเกิดจากการสร้างพลังความรู้ในตนเองและด้วยตนเองของผู้เรียน ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างความคิดและนำความคิดตนเองไปสร้างชิ้นงานโดยอาศัยสื่อ เทคโนโลยีที่เหมาะสมทำให้เห็นความคิดเป็นรูปธรรมชัดเจน เมื่อสร้างสิ่งใดขึ้นมาหมายถึงการสร้างความรู้ขึ้นใน
ตนเอง และมีความหมายต่อผู้เรียน ครูทำหน้าที่อำนวยความสะดวกในการเรียนของผู้เรียน ให้คำปรึกษาชี้แนะ เกื้อหนุนการเรียนของผู้เรียนเป็นสำคัญ การประเมินผลเน้นที่ประเมินกระบวนการและผลงาน ประเมินหลากหลาย เป็นแนวคิดของการจัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. Consturetivism
ข. Integration
ค. Co – operatire Learning
ง. Tochnogy Related Instruet
จ. Experimental Instruction
15.เป็นทฤษฏีทีให้ความสำคัญกับกระบวนการ และวิธีการเรียนของบุคคลในการสร้างความรู้จากประสบการณ์ โดยใช้กระบวนการทางปัญญาผู้เรียนได้สาธิต กระบวนการแปลและสร้างความหมายที่หลากหลายจัดกระทำข้อมูลหรือประสบการณ์ต่างๆ โดยผู้เรียนอยู่ในบริบทจริง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง จะสำเร็จมากน้อยขึ้นอยู่กับบทบาทของครู ท่านคิดว่าเป็นการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญสัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. Consturetivism
ข. Integration
ค. Co – operatire Learning
ง. Tochnogy Related Instruet
จ. Experimental Instruction





20.ผู้เสนอการเรียนรู้แบบ CIRC
ก. Stevens and other
ข.Darid lohnson and Robert Johnson
ค. Ausubel และ Piaget
ง. john Dewey(สอนแก้ปัญหา)
จ. D Bono
21. การจัดการเรียนรู้จากแหล่งการเรียนรู้ ซึ่งแบ่งออกเป็นกี่ประเภท
ก. 7 ประเภท ข. 6 ประเภท
ค. 5 ประเภท ง. 4 ประเภท
จ. 3 ประเภท
22. ข้อใดไม่ใช่การจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยี
ก. ศูนย์การเรียน ข. ชุดการสอน
ค. computer Assisted instrunction ง. E – learning
จ. Role playing
23. ข้อใดไม่ใช่การจัดการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์
(Experimenta Instraetion)
ก. Dramatization ข. Simulation
ค. Game ง. Integration
จ. Experiential Activities plahning:EPA
24. กระบวนการแก้ปัญหา มี 5 ขั้นตอน ข้อใดไม่ใช่
ก. สังเกต ข. รายงาน
ค. สร้างทางเลือก ง. เก็บข้อมูลประเมินทางเลือก
จ. สรุป
25. กระบวนการคิดสร้างสรรค์ มี 5 ขั้นตอน ข้อใดไม่ใช่
ก. พบความจริง ข.ค้นพบปัญหา
ค. ค้นพบสมมติฐาน ง. สรุป
จ. ค้นพบคำตอบ
26.การเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. การเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา


33. ข้อใดเป็นประโยชน์ของแหล่งเรียนรู้
ก. เป็นส่วนเสริมในการเรียน ข. เสริมสร้างความสนใจ
ค. ช่วยให้ผู้เรียนได้สนุกสนาน ง. ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
จ. ถูกทุกข้อ
34. กระบวนการทางปัญญาระดับสูง ที่ใช้กระบวนการทางความคิดหลายๆ อย่างมารวมกัน เพื่อสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ตรงกับข้อใด
ก. ความหมายความคิดสร้างสรรค์
ข. แนวทางในการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
ค. วิธีสอนความคิดสร้างสรรค์
ง. การสอนความคิดสร้างสรรค์ของครู
35. เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเลือกและสร้างกระบวนการเรียนเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างลุ่มลึกและสามารถนำผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตจริงได้เป็นการเรียนรู้แบบใด
ก. แหล่งเรียนรู้ ข. โครงงาน
ค. ความคิดสร้างสรรค์ ง. การสอนแบบบูรณาการ
จ. กระบวนการแก้ปัญหา
36. เป็นการนำเอาความรู้ สาขาวิชาต่างๆ ที่สัมพันธ์กันมาผสมผสานกัน เพื่อให้การจัดการเรียนรู้ เกิดประโยชน์สูงสุดของการเรียนเน้นองค์รวมของเนื้อหามากกว่าองค์ความรู้ของแต่ละวิชาตรงกับข้อใด
ก.แหล่งเรียนรู้ ข. โครงงาน ค. ความคิดสร้างสรรค์
ง. การสอนแบบบูรณาการ จ. กระบวนการแก้ไข
37.ข้อใดไม่ใช่ระดับการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง 51
ก. ระดับประถมศึกษา
ข.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ค.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ง. ระดับมัธยม
จ. ถูกทุกข้อ




42.การตัดสินผลการเรียนตามหลักสูตร 51 เป็นไปตาม
ข้อใด
ก.ระดับประถมศึกษามีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ข.ระดับมัธยมศึกษามีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ค.ระดับประถมศึกษามีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
ง.ระดับมัธยมศึกษามีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
จ.ถูกข้อ ก และ ข
43.เกณฑ์การจบการศึกษา ข้อใดกล่าวผิด
ก. มัธยมศึกษา ตอนต้น เรียนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วย พื้นฐาน 63 หน่วย เพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด
ข.มัธยมศึกษาตอนต้น ได้หน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 77 พื้นฐาน 63 หน่วย เพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด
ค.มัธยมศึกษาตอนปลาย เรียนวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 81 พื้นฐาน 39 หน่วย เพิ่มเติมตามสถานศึกษากำหนด
ง.มัธยมศึกษาตอนปลาย ต้องได้หน่วยการเรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 77 พื้นฐาน 39 เพิ่มเติม 38 หน่วย
จ.ระดับประถมศึกษา ได้เรียนไม่น้อยกว่า 81 หน่วยกิต
44.การประเมินผล ตรงข้อใด
ก. กระบวนการหาปริมาณ
ข.การทดสอบทางการศึกษา
ค.การตัดสินหรือวินิจฉัยเรื่องต่างๆ ได้จากการวัดผล
ง.ผิดทุกข้อ
45.เป็นแนวคิดของการวัดผลและประเมินผล ยกเว้น
ก.การวัดผลเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน
ข.การสอนกับการสอบเป็นกระบวนการที่เกี่ยวเนื่อง
ค.ผู้วัดผลควรเป็นผู้สอนเพราะเป็นผู้ใกล้ชิดผู้เรียน
ง.การวัดปัจจุบันครูเป็นผู้วัดแต่พียงผู้เดียว



52. ผู้ให้ข้อมูลมีโอกาสพบปะสนทนากับผู้ให้ข้อมูลโดยตรงมีจุดมุ่งหมายแน่นอน ทั้งสองฝ่ายรู้ความจริงของพฤติกรรมคุณลักษณะเจตคติ บุคลิกภาพ ท่าที วาจา
ตรงกับข้อใด
ก. การทดสอบ ข. การสัมภาษณ์
ค. การสังเกต ง.การปฏิบัติ
53. การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกายอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลากหลาย อย่างรวมกันในเหตุการณ์ ปรากฏการณ์ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงกับข้อใด
ก. การทดลอง ข.การสัมภาษณ์
ค.การสังเกต ง. การปฏิบัติ
54.การทดสอบความสามารถในการทำงานของผู้เรียนภายใต้สภาพการณ์และเงื่อนไขที่สอดคล้องกับสภาพจริงมากที่สุดเป็นวิธีการประเมินการเรียนแบบใด
ก. Authentie Assessment
ข. Performance Assessment
ค. Evaluation
ง. Porttolio
55.เครื่องมือที่ดีต้องมีคุณภาพด้านใด
ก.ความเที่ยงตรง ข. ความเชื่อมั่น
ค.ความยาก ง. ถูกทุกข้อ
56.ระดับของการวัดเรียกอีกอย่างคือ มาตรการวัดมี 4 ประเภท ข้อใดไม่ใช่
ก. Nominal Scales ข. Testing
ค. Original Scales ง. Interval Scales
57.ข้อใดไม่ใช่การบริหารชั้นเรียน
ก. การจัดบรรยากาศการเรียน
ข. การจัดทำข้อมูล สารสนเทศธุรการชั้นเรียน
ค.รายงานการเงิน
ง.การกำกับดูแลชั้นเรียน

10. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สัมพันธ์กับทุกข้อยกเว้น
ก. จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างครบวงจร
ข. วงจรการเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องเชื่อมโยงบูรณาการและ ประยุกต์ใช้ความรู้
ค. ประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียนด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย
ง. จัดหลักสูตรได้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น
จ. จัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ด้วยรูปแบบวิธีการเทคนิคที่หลากหลาย
11. ตามหลักสูตร 2551 กระบวนการเรียนรู้ให้ความสำคัญเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ข้อใดเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ก. กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
ข. กระบวนการคิด
ค. กระบวนการทางสังคม
ง. กระบวนปฏิบัติลงมือทำจริง
จ. ถูกทุกข้อ
12. ก่อนออกแบบการเรียนรู้ผู้สอนต้องทำความเข้าใจก่อน ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. มาตรฐานการเรียนรู้ ข . ตัวชี้วัด
ค. เทคนิควิธีสอน ง. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
จ. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน
13. การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ข้อใดไม่ใช่บทบาทครูผู้สอน
ก. จัดบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้
ข. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม
ค. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ง. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนด้วยตนเอง
จ. ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย



16. ส่งเสริมการเรียนรู้ให้ผู้เรียนปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเล็กๆโดยสมาชิกแต่ละกลุ่มมีความรู้ความสามารถแตกต่างกัน แต่ละคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น เป็นกำลังใจให้กันและกัน คนเก่งช่วยเหลือคนอ่อนกว่า ร่วมรับผิดชอบสมาชิกในกลุ่ม ความสำเร็จของแต่ละบุคคลคือความสำเร็จของกลุ่ม ส่งเสริมการทำงานเป็นหมู่คณะ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ประเมินผลทั้งปริมาณและคุณภาพ
ด้วยวิธีหลากหลาย มีองค์ประกอบการเรียน 5 ประการ ได้แก่ พึ่งพากัน หันหน้าเข้าหากันปรึกษากันอย่างใกล้ชิดอาศัยทักษะทางสังคม วิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม มีผลงานรายบุคคลและรายกลุ่ม นอกจากนี้ยังส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนสัมพันธ์กับการเรียนรู้แบบใดมากที่สุด
ก. Consturetivism
ข. Integration
ค. Co – operatire Learning
ง. Tochnogy Related Instruet
จ. Experimental Instruction
17.ข้อใดไม่ใช่การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ก. Student Teame Achievement
ข. Team Game Tournament
ค. Team Assited Individualization
ง. Jigsaaw
จ. Projeet based Learning
18. ข้อใดไม่ใช่การเรียนรู้แบบร่วมมือ
ก. Group Investigations ข. Learning together
ค. Team Interview ง. Integration
จ. Gooperative Integrated Reading and composition
19. ผู้เสนอการสอนแบบ Thint pair Share
ก. John Hopkirn ข. Spencer Kagan
ค. Robert Slavin ง.Elliont A ronson




ข. รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหา ค. การใช้ปัญหาเป็นฐาน ง.การเรียนรู้แบบโครงงาน จ.การเรียนรู้เน้นการปฏิบัติ
27. ข้อใดไม่ใช่พหุปัญญา
ก. verbal intellingence ข. Logical intelligence
ค. visual intelligence ง. Intrapersonal intelligence
จ. Project
28. สังคมต้องมีบุคคลที่มีความสามารถหลากหลาย ตรงกับข้อใด
ก. การเรียนรู้แบบบูรณาการสู่พหุปัญญา
ข. รูปแบบกระบวนการแก้ปัญหา
ค. การใช้ปัญหาเป็นฐาน
ง.การเรียนรู้แบบโครงงาน
จ.การเรียนรู้เน้นการปฏิบัติ
29. เริ่มต้นจากปัญหาแล้วให้ผู้เรียนมุ่งทำหาคำตอบด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม สอดคล้องกับข้อใด
ก. แบบโครงงาน ข. แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
ค. เน้นการปฏิบัติ ง.แบบร่วมมือ จ.แบบคิดสร้างสรรค์
30. ข้อใดเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน
ก. ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง
ข. จัดกลุ่มขนาดเล็ก 3 – 5 คน
ค. ครูเป็นผู้อำนวยความสะดวก
ง. ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น
จ. ถูกทุกข้อ
31. การจัดการเรียนรู้เน้นกระบวนการแก้ปัญหามี 5 ขั้นตอน
ข้อใดไม่ใช่
ก. สังเกต ข. สร้างทางเลือก ค. วิเคราะห์
ง. เก็บข้อมูล จ. รายงานผล
32. การจัดกิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ ผู้สอนควรออกแบบการเรียนรู้คำนึงถึงสิ่งใด
ก. แหล่งเรียนรู้จัดในประเภทใด ข. เป็นองค์ความรู้เรื่องใด
ค. วัตถุประสงค์การจัดทำ ง. มีกิจกรรมเนื้อหา สอดคล้องกับวิชาใด จ. ถูกทุกข้อ

38. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ จัดเวลาตามข้อใดถูกต้อง
ก. ระดับประถม รวม 6 ปี จำนวน 60 ชั่วโมง
ข. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รวม 3 ปี จำนวน 45 ชั่วโมง
ค.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวม 3 ปี จำนวน 60 ชั่วโมง
ง.ระดับมัธยมศึกษา รวม 3 ปี จำนวน 60 ชั่วโมง
จ. ก ข ค ถูกต้อง
39. มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียน สถานศึกษา ควรดำเนินการ ยกเว้น
ก. จัดให้มีแหล่งเรียนรู้
ข.หากจำเป็นจึงควรประเมินสื่อ
ค.หาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้
ง. เลือกและใช้สื่อที่มีคุณภาพ หลากหลายสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
จ.หลักสำคัญของการเลือกใช้สื่อ ประเมินสื่อ ให้สอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
40. ตามหลักสูตร 2551 ข้อใดไม่ใช่ระดับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ก. ระดับชั้นเรียน ข.ระดับสถานศึกษา
ค. ระดับโรงเรียน ง. ระดับเขตพื้นที่
จ. การประเมินระดับชาติ
41.การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญตามหลักสูตรใหม่ มุ่งตรวจสอบผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนอันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรืไม่ มีสิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงส่งเสริมด้านใด ทั้งนี้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด เป็นการวัดผลระดับใด
ก. ชั้นเรียน ข.สถานศึกษา
ค. ระดับเขตพื้นที่ ง.ระดับชาติ
จ.ถูกทุกข้อ


46.เป็นหลักการวัดผลการศึกษา ยกเว้น
ก. ต้องวัดให้ตรงจุดมุ่งหมายของการเรียน
ข.เลือกใช้เครื่องมือจัดที่ดีและเหมาะสม
ค.ระวังความคลาดเคลื่อนของการวัด
ง.วัดไม่ให้ตรงจุดมุ่งหมายของการวัดก็ได้
47.ข้อใดไม่ใช่ความมุ่งหมายของการวัดผล
ก. จัดอันดับ ข. เอกสาร
ค. วินิจฉัย ง. เปรียบเทียบ
48. เป็นรูปแบบการวัดผลการเรียนรู้ ยกเว้น
ก. Authentie Assessment
ข. Performance Assessment
ค. Evaluation
ง. Porttolio
49. วิธีวัดผลการเรียนรู้มีหลากหลาย ผู้ใช้ควรเลือกให้เหมาะสมกับธรรมชาติของผู้เรียนต่อไปนี้ไม่ใช่วิธีการวัด
ก. แบบบันทึก ข. การทดสอบ
ค.การสัมภาษณ์ ง.การสอบถาม
50. เป็นการสะสมงานของผู้เรียนอย่างมีจุดมุ่งหมายและเป็นระบบเพื่อแสดงให้เห็นถึงความพยายาม ความก้าวหน้า สอดคล้องกับข้อใด
ก. การประเมินตามสภาพจริง
ข. การประเมินภาคปฏิบัติ
ค.การใช้แฟ้มสะสมงาน
ง.การประเมินโดยใช้ศูนย์การประเมิน
51.เป็นการประเมินผลโดยเน้นการปฏิบัติจริงที่มุ่งการประเมิน การกระทำหลายๆด้านของผู้เรียนตามสภาพจริง
ก. Authenic Assessment
ข. Performance Assessment
ค. Assessment Centers
ง. Testing




58. วัตถุประสงค์ของการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
ก. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข. บรรยากาศทางกายภาพ
ค.บรรยากาศทางจิตวิทยา
ง.โต๊ะเรียน
59.ข้อใดเป็นแนวการจัดป้ายนิเทศในห้องเรียน
ก.กำหนดเนื้อหาที่จะจัด ข.กำหนดวัตถุประสงค์
ค.กำหนดชื่อเรื่อง ง.ถูกทุกข้อ
60.หลักการจัดป้ายนิเทศ ยกเว้น ข้อใด
ก. จัดให้เก่าเสมอ ข.จัดให้ใหม่เสมอ
ค. ติดผลงานผู้เรียน ง.เนื้อหาสอดคล้องกับบทเรียน
61.เทคนิคการปกครองชั้นเรียนต้องยึดหลักการข้อใดไม่ใช่
ก. ประชาธิปไตย ข.ยุติธรรม
ค. หลักห่างเหิน ง.พรหมวิหาร 4
62 ครูต้องรู้จักชื่อจริง ชื่อเล่นของเด็กทุกคนเป็นไปตามหลักใด
ก.ยุติธรรม ข.ใกล้ชิด
ค.พรหมวิหาร 4 ง.ประชาธิปไตย
63. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดชั้นเรียน
ก.ไม่เป็นระเบียบ
ข.ยืดหยุ่นตามความเหมาะสม
ค.เสริมสร้างความรู้ทุกด้าน
ง.เสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดี
64. เป็นปรัชญาแนะแนวยกเว้น
ก.บุคคลมีความแตกต่าง ข.บุคคลไม่มีศักดิ์ศรี
ค.บุคคลมีการเปลี่ยนแปลง ง.บุคคลอยู่รวมกันเป็นสังคม
65.ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายแนะแนว
ก.ป้องกันปัญหา
ข.แก้ปัญหา
ค.ศึกษาข้อมูล
ง.ส่งเสริมพัฒนา




















1.หลักการสำคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ที่ผู้สอนจะต้องคำนึงถึงข้อใดไม่ใช่
ก.เป็นการสอดแทรกให้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้
ข. สิ่งสำคัญ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ค. งานวิจัยเป็นงานเสริมหลักการเรียนการสอนเป็นหน้าทีผู้บริหาร
ง.เป็นการทำวิจัยตามสภาพจริง เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงและต้องการแก้ไข
2.ความสำคัญของการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ไม่สอดคล้องกับข้อใด
ก. เป็นการนำผลการวิจัยไปพัฒนาการเรียนรู้
ข. เป็นการนำผลการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน
ค. เป็นการนำผลการวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรและการวิจัยเพื่อการเรียนรู้
ง. เป็นการนำผลการวิจัย เพื่อปรับปรุงแก้ไขการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ
3. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ก. การวิเคราะห์ปัญหา
ข.การสร้างหรือพัฒนานวัตกรรมใช้แก้ปัญหา
ค. การใช้นวัตกรรมแก้ปัญหา
ง. การเขียนรายงานผลงานทางวิชาการ
4.การวิเคราะห์ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 4 ประการ ข้อใดไม่ใช่
ก. การวินิจฉัยปัญหาของผู้เรียน
ข. การกำหนดแนวทางการแก้ปัญหา
ค. การประเมินนวัตกรรมและสรุปผลการใช้นวัตกรรม
ง. การเลือกนวัตกรรม

5. หลักในการเลือกนวัตกรรมข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. หลักจิตวิทยาการเรียนรู้
ข. ประเภทสื่อการเรียนการสอน
ค. ชนิดและประเภทนวัตกรรม
ง. ทฤษฎีและหลักการสอน
6. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบในการพัฒนานวัตกรรม
ก. การสร้างนวัตกรรม
ข. การหาคุณภาพของนวัตกรรม
ค. การออกแบบนวัตกรรม
ง. ประเภทเทคนิควิธีการ
7. หลักการและแนวคิดการสร้างนวัตกรรมจะต้องคำนึงถึงสิ่งใด ข้อใดไม่ใช่
ก. หลักจิตวิทยาการเรียนรู้
ข. หลักการสอน
ค. หลักจิตวิทยาของนวัตกรรมประเภทต่างๆ
ง. การหาคุณภาพนวัตกรรม
8. ข้อใดไม่ใช่การหาคุณภาพนวัตกรรม
ก. การตรวจสอบเบื้องต้น
ข. การทดลองกลุ่มใหญ่
ค. การทดลองกลุ่มเล็ก
ง. การหาค่าเฉลี่ย
9. ข้อใดเป็นขั้นตอนการใช้นวัตกรรม
ก. การวางแผนการใช้นวัตกรรม
ข. การตรวจสอบเบื้องต้น
ค. การเก็บรวบรวมข้อมูล
ง. การใช้นวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้
10. ข้อใดไม่ใช่การวางแผนการใช้นวัตกรรม
ก. การทดลอง
ข. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
ค. กำหนดระยะเวลาการใช้
ง. ออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล

ฉบับปรับปรุง แบบทดสอบชำนาญการพิเศษ ชุด 3

11. ข้อใดเป็นการประเมินและสรุปผลการใช้นวัตกรรม
ก. การประเมินผลการใช้นวัตกรรม
ข. การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
ค. การทดสอบ
ง. ก และ ข
12. เปรียบเทียบคะแนนความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการฝึกสอดคล้องกับข้อใด
ก. การวิเคราะห์ข้อมูล
ข. การนำเสนอข้อมูล
ค. การประเมินผล
ง. ถูกทุกข้อ
13. การเขียนรายงานการพัฒนานวัตกรรมมีลักษณะที่ดี
ข้อใดไม่ใช่
ก. มีความชัดเจน
ข. เชื่อมั่น
ค. มีความสมบูรณ์
ง. มีความถูกต้อง
14. ยึดหลักการแนวคิดหรือทฤษฏีสำคัญอะไรเป็นหลักในการจัดทำ เป็นคำถามที่สอดคล้อง สัมพันธ์ในการเขียนรายงานตามข้อใด
ก. บทที่ 1 ข. บทที่ 2
ค. บทที่ 3 ง. บทที่ 4
15. เป็นการกล่าวถึงผลที่ได้จากการวิจัยโดยตรงและประโยชน์ในการนำผลการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ไปใช้ในการเสริมสร้างความรู้ใหม่ และป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นตรงกับข้อใด
ก. ขอบเขตของการวิจัย
ข. นิยามศัพท์
ค. การสมมุติฐานการวิจัย
ง. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
16. ข้อใดเป็นความหมายของการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัด
การเรียนรู้
ก. การพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
ข.การพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ
ค.การพัฒนาที่ไม่เป็นระบบ
ง.ข้อ ก และ ข ถูกต้อง
17.ความแตกต่างระหว่างสภาพที่คาดหวังกับสภาพที่เกี่ยวข้อง
กับการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ตรงกับข้อใด
ก.ขั้นของการวิจัย
ข.ปัญหาของการวิจัย
ค.นิยามศัพท์
ง.การสรุปผลการแก้ปัญหาเขียนรายงาน
18.วิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบสาเหตุของปัญหาเกิดจากอะไร
ก. ปัจจัย ข.กระบวนการ
ค.ผลผลิต ง. ก และ ข
19.กระบวนการศึกษาค้นคว้าและพัฒนานวัตกรรมข้อใดเรียงถูกต้อง
ก. การศึกษาสภาพปัญหา และจำเป็นในการ
แก้ปัญหา สร้างนวัตกรรม หาคุณภาพ
ปรับปรุง ทดลองใช้จริง
ข.ศึกษาปัญหาและความจำเป็นในการแก้ไข
ปัญหาพัฒนา ออกแบบนวัตกรรมสร้าง
นวัตกรรม หาคุณภาพ ปรับปรุงทดลองใช้
ค.นำไปใช้จริง สรุปผลงาน สร้างนวัตกรรม
ง. ผิดทุกข้อ
20. ปกติครูนำนวัตกรรมไปทดลองใช้กับเด็กนักเรียนถือเป็นกลุ่มทดลองนิยมใช้กี่กลุ่ม
ก. 1 กลุ่ม
ข. 2 กลุ่ม
ค. 3 กลุ่ม
ง. 4 กลุ่ม


21. ชื่อเรื่องวิจัยต่อไปนี้ เป็นการวิจัยประเภทใด “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดสกลนคร ระหว่างการสอนแบบโครงงานและการสอนแบบโครงงาน
ก.การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
ข.การวิจัยเชิงบรรยาย
ค.การวิจัยเชิงทดลอง
ง.การวิจัยเชิงคุณภาพ
22.การวิจัยมีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. เป็นการลองผิดลองถูก
ข. เป็นการศึกษาอย่างมีระบบ
ค.เป็นการสำรวจสภาพปัญหา
ง.เป็นการวิเคราะห์เรื่องราวต่างๆ
23. ข้อใดเรียงลำดับของกระบวนการวิจัยได้ถูกต้อง
ก. กำหนดปัญหา เก็บรวบรวมข้อมูล
ตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
ข.กำหนดปัญหา ตั้งสมมติฐาน เก็บรวบรวม
ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
ค.ตั้งสมมติฐาน กำหนดปัญหา เก็บรวบรวม
ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป
ง. ตั้งสมมติฐาน กำหนดปัญหา วิเคราะห์ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล สรุป
24. ลักษณะงานวิจัยตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก.สามารถพิสูจน์ทุกขั้นตอน
ข.หาคำตอบได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ค.มีขั้นตอนและระบบการศึกษาอย่างสมบูรณ์
ง.เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ของสิ่งที่ต้องการ
ศึกษา




29.ส่วนที่ชี้ให้ทราบว่าผู้วิจัยต้องการศึกษาค้นคว้าอะไร ตรงกับข้อใด
ก. ชื่อเรื่องการวิจัย
ข. สมมติฐานการวิจัย
ค.จุดมุ่งหมายของการวิจัย
ง.กรอบแนวคิดในการวิจัย
30.ข้อใดเป็นตัวแทนของข้อมูลที่นิยมใช้และรู้จักกันแพร่หลายที่สุด
ก.มัธยฐาน
ข.ฐานนิยม
ค.ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ง.ค่าเฉลี่ยหรือมัชฌิมเลขคณิต
31.ข้อใดที่บอกให้เราทราบว่าข้อมูลของกลุ่มนั้นมีความแตกต่างกันมากน้อยเพียงใด
ก. มัธยฐาน ข.ฐานนิยม
ค.ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน ง.ค่าเฉลี่ย
32. การเขียนรายงานผลงานวิชาการทางวิชาการ 5-10หน้า ต่อไปนี้เป็นผลงานตามหน้าที่และความรับผิดชอบมาตรฐานตำแหน่งมาตรฐานวิทยฐานะประกอบด้วย
ก.ปฏิบัติหน้าที่การเรียนการสอน
ข.การส่งเสริมการเรียนรู้การพัฒนาผู้เรียน
ค.ปฏิบัติงานวิชาการ
ง. ถูกทุกข้อ
33. จากข้อ 32 ควรเขียนลักษณะใด
ก. บอกปริมาณ ข. บอกคุณภาพ
ค.ผลที่เกิดกับผู้เรียน ง.บอกผลงานตนเอง


25. สมมติฐานการวิจัย ข้อใดดีที่สุด
ก.การสอนแบบทีมดีกว่าการสอนแบบครู
คนเดียว
ข.นักเรียนชายมีความเชื่อโชคลางน้อยกว่า
นักเรียนหญิง
ค.วิธีสอนแบบอภิปรายเชื่อว่าจะให้ผลสัมฤทธิ์สูงกว่าวิธีสอนแบบบรรยาย
ง.เด็กในเมืองน่าจะมีความคิดสร้างสรรค์สูงกว่า
ในชนบท
26. “สภาพแวดล้อมในโรงเรียนหมายถึง การรับรู้พฤติกรรม เหตุการณ์สถานที่ หรือลักษณะใดๆในโรงเรียนที่นักเรียนสังเกตหรือรับรู้ได้”
ข้อความนี้หมายถึงข้อใด
ก. จุดมุ่งหมายของการวิจัย
ข. สมมุติฐานการวิจัย
ค. นิยามศัพท์เฉพาะ
ง. ข้อตกลงเบื้องต้น
27. สมมติฐานการวิจัยที่ว่า “ผู้บริหารที่มีความรู้” ทางจิตวิทยาการปกครองลูกน้องได้ดีกว่าผู้บริหารที่ไม่มีความรู้ทางจิตวิทยา จากสมมติฐาน ข้อใดเป็นตัวแปรอิสระ
ก.การปกครองลูกน้อง
ข.ผู้บริหารที่มีความรู้ทางจิตวิทยา
ค.ผู้บริหารที่ไม่มีความรู้ทางจิตวิทยา
ง.ผู้บริหารที่มีความรู้และไม่มีความรู้ทาง
จิตวิทยา
28.ข้อใดเป็นประโยชน์ที่สำคัญที่สุดของการวิจัย
ก. ช่วยในการกำหนดนโยบาย
ข. ช่วยให้ค้นพบทฤษฏีและสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ
ค.ช่วยให้การจัดการศึกษาและการจัดการเรียนการสอนเพื่อผู้เรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิ์ภาพ
ง.ช่วยกระตุ้นความสนใจของนักวิชาการให้มี












ฉบับปรับปรุง แบบทดสอบปฐมวัย
1.การจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ครูต้องเข้าใจแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อนำสู่การปฏิบัติ ข้อใดไม่ใช่
ก.แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ข. แนวคิดเกี่ยวกับการสอน
ค.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้
ง.แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก
จ. แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคม
2. พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ของเด็กแต่ละคนจะแตกต่างกันไปตามวัยและพัฒนาการจะเปลี่ยนแปลงตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิจนถึงอายุ 5 ปี เป็นแนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาปฐมวัยด้านใด
ก.แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ข. แนวคิดเกี่ยวกับการสอน
ค.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้
ง.แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก
จ. แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคม
3. การเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กมีลักษณะต่อเนื่อง จะพัฒนาถึงขั้นใด จะต้องเกิดวุฒิภาวะของความสามารถก่อน ตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญา
ข.ทฤษฏีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ค. ทฤษฏีพัฒนาการทางร่างกาย
ง.ทฤษฏีพัฒนาการทางอารมณ์
จ. ถูกทุกข้อ


ก.แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ข. แนวคิดเกี่ยวกับการสอน
ค.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้
ง.แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก
จ. แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคม
7.การเล่นอย่างมีจุดมุ่งหมายเป็นหัวใจสำคัญของการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กตรงกับแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยข้อใด
ก.แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ข. แนวคิดเกี่ยวกับการสอน
ค.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้
ง.แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก
จ. แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคม
8.บริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่หรือแวดล้อมตัวเด็ก ทำให้เด็กมีความแตกต่างกัน ตรงกับแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวัยข้อใดมากที่สุด
ก.แนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ
ข. แนวคิดเกี่ยวกับการสอน
ค.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้
ง.แนวคิดเกี่ยวกับการเล่นของเด็ก
จ. แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและสังคม
9. ปรัชญาการศึกษาปฐมวัยสอดคล้องกับข้อใด
ก.เป็นการพัฒนาเด็กตั้งแต่แรกเกิดถึง 5 ปี บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู
ข. การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กแตะละคนตามศักยภาพ
ค.ภายใต้บริบทสังคม วัฒนธรรมที่เด็กอาศัยอยู่ ด้วยความรัก ความเอื้ออาทรและความเข้าใจของทุกคน
ง. เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชีวิตให้เด็กพัฒนาไปสู่ความ
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเองและสังคม

14. ข้อใดไม่ใช่หลักการของหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2546
ก. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกประเภท
ข.ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
ค.พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่น และกิจกรรมที่ไม่เหมาะสมกับวัย
ง. จัดประสบการณ์ให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้
จ. ประสานความร่วมมือ ครอบครัว ชุมชน พัฒนาการเด็ก
15. ข้อใดไม่ใช่จุดหมายของหลักสูตรปฐมวัย
ก. ร่างกายเจริญเติบโตตามวัย
ข. ไม่มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ค. มีคุณธรรม จริยธรรมและจิตใจที่ดีงาม
ง. ช่วยเหลือตนเองได้ตามวัย
จ. ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
16. คุณลักษณะตามวัย อาจเกิดขึ้นมากน้อยแตกต่างกันไปของแต่ละบุคคล ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสิ่งใด
ก. สภาพแวดล้อม ข. การอบรมเลี้ยงดู
ค. ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
ง. สาระที่เรียน
จ. ก ข และ ค ถูก
17. ข้อใดไม่ใช่สาระที่ควรเรียน
ก. ด้านร่างกาย
ข. เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
ค. เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก
ง. ธรรมชาติรอบตัว จ. สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

21. หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ควรกำหนดการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กแต่ละวัย แต่ละช่วงอายุ ให้สอดคล้องยกเว้น
ก. จิตวิทยาพัฒนาการ ข. ระดับพัฒนาการ
ค. ลักษณะการเรียนรู้ ง. อายุ วุฒิภาวะ
จ. ความสามารถของครู
22. วิธีการประเมินที่เหมาะสมที่สุด ที่ใช้กับเด็กปฐมวัย ตรงกับข้อใด
ก. การสังเกต ข. บันทึกข้อมูล ค.สอบถาม
ง. สังเกตและบันทึกข้อมูล จ. สัมภาษณ์
23. การเลือกใช้สื่อต้องคำนึงถึงสิ่งใด
ก. วัยและพัฒนาการ ข.บริบทสังคม
ค. วัฒนธรรมที่เด็กอาศัย ง. ครู จ. ข้อ ก ข ค ถูก
24. การจัดประสบการณ์เด็กปฐมวัย จัดในรูปกิจกรรมบูรณาการผ่านการเล่น เพื่อให้เด็กมีประสบการณ์ตรง เกิดการเรียนรู้ ครูควรใช้นวัตกรรม ใช้การจัดกิจกรรมหลากหลาย วิธีหนึ่งมีแนวคิดเชื่อว่า เด็กปฐมวัยเรียนรู้จากการเลียนแบบ เป็นแนวคิดของใคร
ก. การสอนแบบโครงงาน
ข. การสอนภาษาโดยธรรมชาติ
ค.การสอนตามแนวคิด waldorf
ง. การสอนแบบ Neo - Humananist
จ. ถูกทุกข้อ
25 .เด็กเปรียบเสมือนกิ่งไม้ไผ่อ่อนๆที่ดัดได้ เป็นแนวคิดตามข้อใด
ก. การสอนแบบโครงงาน
ข. การสอนภาษาโดยธรรมชาติ
ค.การสอนตามแนวคิด waldorf
ง. การสอนแบบ Neo - Humananist
จ. ถูกทุกข้อ

29. กิจกรรมมุ่งเน้นให้เด็กได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ ฝึกการทำงานและอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ ตรงกับข้อใด
ก. กิจกรรมเสรี/การเล่นตามมุม
ข. กิจกรรมสร้างสรรค์
ค. เคลื่อนไหวและจังหวะ
ง. กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม
จ. กิจกรรมกลางแจ้ง
30. ขั้นตอนแรกของการเขียนแผนการจัดประสบการณ์
ก. ศึกษาหลักสูตรปฐมวัย 46
ข. วิเคราะห์สาระการเรียนรู้
ค. กำหนดรูปแบบการจัดประสบการณ์
ง. วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา ความสัมพันธ์ของมาตรฐาน คุณลักษณะที่พึงประสงค์(จุดหมาย)ตัวบ่งชี้ สภาพที่พึงประสงค์ของเด็ก 3 - 5 ปี
จ . เขียนแผนการจัดประสบการณ์
31. การเขียนแผนการจัดประสบการณ์ ผู้สอนต้องคำนึงถึง
ก. มาตรฐานคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ข. ตัวบ่งชี้ ค. สภาพที่พึงประสงค์
ง.ประสบการณ์สำคัญ สื่อ กิจกรรมวัดผล
จ. ถูกทุกข้อ
32. การใช้สื่อ ควรเริ่มต้นไปตามข้อใด
ก. สื่อของจริง ภาพถ่าย
ข. สื่อของจริง ภาพโครงร่าง
ค. สื่อของจริง ภาพโครงร่าง
ง. สื่อของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง
จ. สื่อของจริง ภาพถ่าย ภาพโครงร่าง สัญลักษณ์


37.หลักการประเมินพัฒนาการของเด็ก ข้อใดไม่ใช่
ก. ประเมินพัฒนาการครบทุกชั้น
ข. ประเมินเป็นรายบุคคลอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่องตลอดปี
ค. ประเมินตามสภาพจริงเพียงอย่างเดียว
ง. สภาพประเมินควรมีลักษณะเช่นเดียวกับการปฏิบัติกิจกรรมประจำวัน
จ. ประเมินอย่างเป็นระบบ มีการวางแผนเลือกใช้เครื่องมือและจดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
38. ขั้นตอนการประเมินพัฒนาการขั้นแรก ตรงกับข้อใด
ก. วางแผนเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือ
ข. ศึกษาทำความเข้าใจพัฒนาการของเด็กแต่ละช่วงอายุ ค. ดำเนินการประเมิน ง.ประเมินและสรุป
จ. รายงานผล
39. ประเมินเพื่อเห็นความสามารถในการแสดงความคิดเห็นและพัฒนาการด้านการใช้ภาษา ควรใช้วิธีประเมินแบบใด
ก. การสังเกตและบันทึก ข. การสนทนา
ค. การสัมภาษณ์ ง. การรวบรวมผลงานที่แสดงความก้าวหน้าเป็นแฟ้มผลงาน จ. บันทึกรายวัน
40. การจัดสภาพแวดล้อมมีความสำคัญต่อเด็กเนื่องจากธรรมชาติของเด็กวัยนี้ สนใจที่จะเรียนรู้ ค้นคว้า ทดลองและต้องการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบๆตัวต้องให้เหมาะสมตามความต้องการของเด็ก ทำให้เด็กเกิดประสบการณ์ตรงจากการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสทั้งห้า ครูจึงต้องจัดสภาพแวดล้อมให้ดี ต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ยกเว้น
ก. สะอาด ปลอดภัย
ข. มุมไม่ควรมีมาก
ค. สะดวกในการทำกิจกรรม 4. เด็กเกิดมาพร้อมวุฒิภาวะ พัฒนาขึ้นตามอายุ ประสบการณ์ ค่านิยมทางสังคม และสิ่งแวดล้อม สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญา
ข.ทฤษฏีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ค. ทฤษฏีพัฒนาการทางร่างกาย
ง.ทฤษฏีพัฒนาการทางอารมณ์
จ. ถูกทุกข้อ
5. เด็กจะพัฒนาการได้ดีถ้าแต่ละช่วงอายุเด็กได้รับการตอบสนองในสิ่งที่ตนพอใจได้รับความอบอุ่นอย่างเพียงพอจากผู้ใกล้ชิด สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. ทฤษฏีพัฒนาการทางสติปัญญา
ข.ทฤษฏีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ค. ทฤษฏีพัฒนาการทางร่างกาย
ง.ทฤษฏีพัฒนาการทางอารมณ์
จ. ถูกทุกข้อ
6. การเรียนรู้ของมนุษย์สืบเนื่องจากประสบการณ์ต่างๆที่ได้รับ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ที่ปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเกิดการเรียนรู้ได้ดี ถ้าได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ได้เคลื่อนไหว มีโอกาสคิดริเริ่มตามความต้องการและความสนใจของตนเองรวมทั้งอยู่ในบรรยากาศที่เป็นอิสระ จัดสภาพแวดล้อมที่ดีเอื้อต่อการเรียนรู้ ช่วยเสริมการเรียนรู้ การจัดทำหลักสูตร
จึงยึดแนวคิดให้เด็กได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงด้วยตนเอง ตรงกับแนวคิดการจัดการศึกษาปฐมวันตามข้อใด
จ. ถูกทุกข้อ
10. ข้อใดไม่ใช่ หลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
ก. การสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม
ข. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
ค.การสร้างสิ่งแวดล้อม
ง. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก
จ. การบูรณาการการเรียนรู้
11. ข้อใดเป็นการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
ก. สะอาด
ข. ปลอดภัย
ค.อากาศสดชื่นผ่อนคลายไม่เครียด
ง. มีสื่อวัสดุอุปกรณ์หลากหลาย
จ. ถูกทุกข้อ
12. เด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายทักษะและหลายประสบการณ์ สำคัญ ท่านคิดว่าสัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
ก. การสร้างหลักสูตรที่เหมาะสม
ข. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
ค.การสร้างสิ่งแวดล้อม
ง. การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้
ของเด็ก
จ. การบูรณาการการเรียนรู้
13. การประเมินพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็ก
นิยมใช้วิธีใด
ก.การสังเกต ข. การสัมภาษณ์
ค. การทดสอบ ง. การประเมินค่า
จ. สอบถาม

18. เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกที่เหมาะสมกับวัย มีความสุข ร่าเริงแจ่มใส ได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม สุนทรียภาพ ตรงกับข้อใด
ก.ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมด้านร่างกาย
ข.ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมด้านอารมณ์และจิตใจ
ค.ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมด้านสังคม
ง.ประสบการณ์สำคัญที่ส่งเสริมด้านสติปัญญา จ. ถูกทุกข้อ
19. ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ ตรงกับมาตรฐานใด
ก. รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและความเป็นไทย
ข. มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ค. ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ง. กล้ามเนื้อเล็ก กล้ามเนื้อใหญ่แข็งแรง
จ. ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ
20. การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยมีรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย ผู้สอนควรคำนึงถึงสิ่งใด
ก. พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์
ข. พัฒนาการจิตใจ สังคม
ค. พัฒนาสติปัญญา ความสนใจ ความสามารถ สภาพแวดล้อมในการกำหนดหน่วยการจัดประสบการณ์และแผนการจัดประสบการณ์
จ. ถูกทุกข้อ





26. ข้อใดไม่ใช่หลักการจัดประสบการณ์ตามหลักสูตรปฐมวัย
ก. ผู้ปกครอง ชุมชนร่วมพัฒนาการเด็ก
ข. ประเมินพัฒนาการเป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง
ค. เด็กได้รับการพัฒนาโดยให้ความสำคัญกระบวนการเพียงอย่างเดียว
ง. เน้นเด็กเป็นสำคัญ สนองความแตกต่างระหว่างบุคคล
จ. จัดประสบการณ์เล่นและเรียนเพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวม
27. แนวการจัดประสบการณ์ ตามหลักสูตรปฐมวัยตรงกับข้อใด
ก. สอดคล้องกับจิตวิทยาพัฒนาการ
ข. ลักษณะการเรียน เด็กได้ลงมือกระทำเรียนรู้ ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า
ค. จัดในรูปแบบบูรณาการ
ง. เด็กได้ริเริ่มคิดวางแผน ตัดสินใจ ลงมือกระทำ
จ. ถูกทุกข้อ
28. กิจกรรมที่ช่วยให้เด็กได้แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จินตนาการโดยใช้ศิลปะ สอดคล้องกับกิจกรรมใด
ก. กิจกรรมเสรี/การเล่นตามมุม
ข. กิจกรรมสร้างสรรค์
ค. เคลื่อนไหวและจังหวะ
ง. กิจกรรมเสริมประสบการณ์/กิจกรรมในวงกลม
จ. กิจกรรมกลางแจ้ง





33. การใช้สื่อต้องเหมาะสมกับสิ่งใด
ก. วัย ข. วุฒิภาวะ
ค.ความแตกต่างระหว่างบุคคล
ง.ความสนใจ ความต้องการ
จ. ถูกทุกข้อ
34. วิธีการเลือกสื่อ ข้อใดไม่ใช่
ก. ตรงกับจุดหมายและเรื่องที่สอน
ข. เหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็ก
ค. เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น
ง. เลือกสื่อที่ไม่สามารถสัมผัสได้
จ. มีความถูกต้อง เนื้อหาทันสมัย
35. ขั้นตอนการผลิตสื่อ ข้อใดไม่ใช่
ก. สำรวจความต้องการ
ข. วางแผนผลิต
ค. ผลิตสื่อตามรูปแบบที่เตรียมไว้
ง. นำสื่อไปทดลองใช้
จ. ปรับปรุงสื่อแล้วเก็บไว้
36. การประเมินสื่อ ควรพิจารณาองค์ประกอบ
3 ด้าน คือ ผู้สอน เด็ก และสื่อ โดยใช้วิธีสังเกต ข้อใดไม่ใช่
ก. สื่อนั้นช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้
ข. เด็กชอบสื่อเพียงใด
ค. สื่อช่วยการสอนตรงจุดประสงค์
ง. สื่อช่วยให้เด็กสนใจมากน้อยเพียงใด
จ. ช่วยครูสอนได้บ้างบางโอกาส





คำตอบต่อข้อ 40
ง.ขนาดน้ำหนักเหมาะสม
จ.มีอิสระอย่างมีขอบเขตในการเล่น
41. มุมที่ผู้สอนจัดรวบรวมสิ่งของต่างๆให้เด็กได้สำรวจ สังเกต ทดลอง ค้นพบด้วยตนเองตรงกับข้อใด
ก. มุมวิทยาศาสตร์ ข.มุมศิลปะ
ค. มุมบทบาทสมมติ ง. มุมบล็อก
จ. มุมหนังสือ
42. การนำหลักสูตรสู่ปฏิบัติ บุคคลใดมีบทบาท
ก. ผู้บริหาร
ข. ผู้สอน
ค. ผู้ปกครอง
ง. ชุมชน
จ. ถูกทุกข้อ
43. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของครูผู้สอน ในฐานะผู้เสริมสร้างการเรียนรู้
ก. กระตุ้นให้ผู้เรียนร่วมคิดแก้ปัญหา
ค้นหาคำตอบ
ข. จัดสภาพแวดล้อมและสร้างบรรยากาศให้
เด็กได้ทำกิจกรรม
ค. สอดแทรกการอบรมจริยธรรม
ง. เป็นผู้กำหนดประสบการณ์ให้เด็กฝ่ายเดียว
จ. ปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สอนและเด็กในการ
ดำเนินกิจกรรม

No comments:

Post a Comment

ได้ข้อมูลแล้ว ก็ช่วยกันคอมเม้นด้วยนะค่ะ