ค้นหาข้อสอบ ในเว็บไซต์แห่งนี้
Wednesday, March 30, 2011
สรุปเกี่ยวกับการลาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. การบังคับใช้
1) ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครู ยกเว้นข้าราชการทหารและข้าร
2) ให้ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีรั
3) กรณีที่ไปช่วยราชการหากต้อง
2. การนับวันลา
1) ให้นับตามปีงบประมาณ
ข้อสอบ 2) การนับวันลาที่นับเฉพาะวันท
- การลาป่วย ( ธรรมดา )
- การลากิจส่วนตัว
- การลาพักผ่อน
3) ข้าราชการที่ถูกเรียกกลับระ
3. การลาครึ่งวัน
ในการลาครึ่งวันในตอนเช้า หรือตอนบ่ายให้นับการลาเป็น
การลาให้ใช้ใบลาตามแบบ แต่กรณีจำเป็นหรือรีบด่วนจะ
- ข้าราชการที่ประสงค์จะไปต่า
- ข้าราชการส่วนภูมิภาค ขออนุญาตเดินทางไปต่างประเท
- ข้าราชการผู้ใดไม่สามารถปฏิ
********** ข้าราชการครูสังกัด สพฐ. เป็นข้าราชการส่วนกลาง*****
4. ประเภท ของการลามี 9 ประเภท ดังนี้
1. ลาป่วย
2. ลาคลอดบุตร
3. ลากิจส่วนตัว
4. ลาพักผ่อนประจำปี
5. ลาไปอุปสมบทหรือประกอบพิธีฮ
6. ลาตรวจเลือกหือเข้ารับการเต
7. ลาศึกษาต่อ ศึกษาอบรมดูงาน หรือปฏิบัติงานวิจัย
8. ลาไปปฏิบัติงานในองค์กรระหว
9. ลาติดตามคู่สมรสไปต่างประเท
การลาป่วย
ข้อสอบ ให้เสนอจัดส่งใบลาก่อนหรือใ
การลาคลอดบุตร
ให้ส่งใบลาก่อนหรือในวันที่
ข้าราชการที่ลาเลี้ยงดูบุตร
ลากิจส่วนตัว + เลี้ยงดูบุตรได้ปีละไม่เกิน
การลากิจส่วนตัวแม้ยังไม่คร
การลาคลอดบุตร คาบเกี่ยวกับการลาประเภทใดใ
การลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยง
การลากิจส่วนตัว
การลากิจส่วนตัว ต้องส่งใบลาก่อนเมื่อได้รับ
ลากิจไม่เกิน 45 วันทำการ/ปี
การลาพักผ่อนประจำปี ( ไม่ใช่ลาพักร้อน )
ข้าราชการปีหนึ่งลาพักผ่อนไ
- ในกรณีบรรจุครั้งแรก
- ลาออกจากราชการเพราะเหตุส่ว
- ลาออกเพื่อดำรงตำแหน่งทางกา
ในปีใดที่ข้าราชการไม่ได้ลา
รับราชการมาแล้วติดต่อกันไม
ข้าราชการที่ปฏิบัติราชการใ
การลาอุปสมบทหรือไปประกอบพิ
ให้ส่งใบลาขออนุญาตต่อเลขา กพฐ. ( ส่งใบลาให้ผอ.ร.ร.ก่อนไม่น้
ได้รับอนุญาตแล้วต้องอุปสมบ
กลับมารายงานตัวภายใน 5 วัน นับตั้งแต่ลาสิขา หรือเดินทางกลับถึงเมืองไทย
ลาบวชได้ไม่เกิน 120 วัน
การลาตรวจเลือก หรือเข้ารับการเตรียมพล
คำว่าตรวจเลือก เรียกว่าคัดทหาร การลาตรวจเลือก ให้รายงานต่อผู้บังคับบัญชา
เตรียมพล เมื่อได้รับใบแดงจะต้องแจ้ง
ออกจากทหาร ขอเข้ารับราชการภายใน 180 วัน
การลาศึกษา ฝึกอบรม ศึกษาปฏิบัติงานวิจัย
ผู้มีอำนาจอนุญาต คือ เลขา กพฐ. ( ในประเทศ มอบให้ ผอ.สพท. ต่างประเทศ เลขา กพฐ. )
การลาไปปฏิบัติงานในองค์กรร
ผู้มีอำนาจอนุญาตคือ รัฐมนตรีเจ้าสังกัด โดยไม่ได้รับเงินเดือน มี 2 ประเภท
1. ประเภทที่ 1 ไม่เกิน 4 ปี
- ประเทศไทยเป็นสมาชิก
- รัฐบาลมีข้อผูกพัน ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ
- ส่งไปเพื่อรักษาผลประโยชน์ข
2. ประเภทที่ 2 ไม่เกิน 2 ปี
- รับราชการไม่น้อยกว่า 5 ปี ยกเว้น สหประชาชาติไม่น้อยกว่า 2 ปี
- อายุไม่เกิน 52 ปี และไม่เคยถูกลงโทษทางวินัย
การลาติดตามคู่สมรสไปปฏิบัต
ผู้อนุญาต คือ เลขา กพฐ. ลาได้ไม่เกิน 2 ปี ถ้าจำเป็นลาต่ออีกได้ 2 ปี รวมเวลา 4 ปี ถ้าเกินให้ลาออก
ผู้มีอำนาจอนุญาตในการลา
ผู้บริหารสถานศึกษา มีอำนาจอนุญาตการลาของผู้ใต
- ลาป่วย ครั้งหนึ่งไม่เกิน 60 วันทำการ
- ลาคลอด ครั้งหนึ่งไม่เกิน 90 วันทำการ
- ลากิจส่วนตัว ครั้งหนึ่งไม่เกิน 30 วันทำการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการเลื่อนขั้นเงินเด
ปีงบประมาณ เลื่อนขั้นเงินเดือน 2 ครั้ง
ครั้งที่ 1 ( ครึ่งปีแรก ) 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม ให้เลื่อนขั้นในวันที่ 1 เมษายน
ครั้งที่ 2 ( ครั้งปี หลัง) 1 เมษายน ถึง 30 กันยายน ให้เลื่อนขั้นเงินเดือนในวั
หลักเกณฑ์การลาบ่อยครั้งและ
1. การลาบ่อยครั้ง
- ข้าราชการปฏิบัติงานตามโรงเ
- ข้าราชการปฏิบัติงานตามสำนั
Tuesday, March 29, 2011
ข้อสอบครูชำนาญการพิเศษ ,ข้อสอบครูผู้ช่วย,สอบบรรจุครูผู้ช่วย,แนวข้อสอบครูผู้ช่วย,สอบครูผู้ช่วย
ข้อสอบครูชำนาญการพิเศษ ,ข้อสอบครูผู้ช่วย,สอบบรรจุครูผู้ช่วย,แนวข้อสอบครูผู้ช่วย,สอบครูผู้ช่วย
Geologic Time
ข้อสอบครูชำนาญการพิเศษ ,ข้อสอบครูผู้ช่วย,สอบบรรจุครูผู้ช่วย,แนวข้อสอบครูผู้ช่วย,สอบครูผู้ช่วย
เรื่องราวสุดประทับใจ เสียดายแน่หากไม่ได้อ่าน
Re: แนวข้อสอบครูผู้ช่วย
การหา ห.ร.ม.
1.วิธีการแยกตัวประกอบ
(1) แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
(2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ำกันของแต่ละจำนวนมา 1 ตัว แล้วคูณกันเป็น ห.ร.ม.
2. วิธีการตั้งหารสั้น
(1) นำตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจำนวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจำนวนทุกตัวที่หา ห.ร.ม. ลงตัวได้ทั้งหมด
(2) นำตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด
การหา ค.ร.น.
1. วิธีการแยกตัวประกอบ
(1) แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
(2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ำกันของแต่ละจำนวนมา 1 ตัว พร้อมทั้งหาตัวที่ไม่ซ้ำกันลงมาด้วยและนำมาคูณกันเป็น ค.ร.น.
2. วิธีการตั้งหารสั้น
(1) นำตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจำนวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลงตัวอย่างน้อย 2ตัว หรือหากจำนวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหารต่อไปไม่ได้
(2) นำตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด
ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
(1) ให้ a, b เป็นเลข 2 จำนวน โดย c เป็น ห.ร.ม. และ d เป็น ค.ร.น. ของ a,b ก็จะได้ว่า a x b =
c x d
(2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน=
(3) ค.ร.น. ของเศษส่วน =
การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจำนวน
1. จำนวนที่ 2 หารลงตัวจะเป็นจำนวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม 0 ด้วย
2. จำนวนที่ 3 หารลงตัวจะเป็นจำนวนที่นำแต่ละหลักของเลขจำนวนนั้นมาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3สามารถหารได้ลงตัวซึ่งนั่นคือจำนวนที่ 3 สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 ไม่สามารถหารได้ลงตัวก็คือจำนวนนั้นสามารถที่จะนำ 3 มาหารได้ลงตัว
3. จำนวนที่ 5 หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจำนวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0 เท่านั้น
คุณสมบัติของ 0, 1
1. a + 0 = 0 + a = a
2. a x 0 = 0 x a = 0
3. a x 1 = 1 x a = a
4. a 0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0
โดยกำหนดให้ a แทนจำนวนใดๆ
คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก, การคูณ
1. a + b = b + a
2. a x b = b x a
โดยกำหนดให้ a, b = จำนวนใดๆ
คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก, การคูณ
1. (a + b) + c = a + (b + c)
2. (b + c) x c = a x (b x c)
โดยกำหนด a, b, c = จำนวนใดๆ
คุณสมบัติการแจกแจง
1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c)
2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a)
โดยกำหนดให้ a, b, c = จำนวนใดๆ
ข้อสังเกตในการบวกและคูณจำนวนเลขคู่และเลขคี่
1. จำนวนคู่ + จำนวนคู่ = จำนวนคู่
2. จำนวนคี่ + จำนวนคี่ = จำนวนคู่
3. จำนวนคี่ + จำนวนคู่ = จำนวนคี่
4. จำนวนคู่ + จำนวนคู่ = จำนวนคี่
5. จำนวนคู่ x จำนวนคู่ = จำนวนคู่
6. จำนวนคี่ x จำนวนคี่ = จำนวนคี่
7. จำนวนคี่ x จำนวนคู่ = จำนวนคู่
8. จำนวนคู่ x จำนวนคี่ = จำนวนคู่
การหาผลบวกของจำนวนเต็ม
1. การหาผลบวกของจำนวนเต็มลบ
จะได้ (-) + (-) = (-)
2. การหาผลบวกระหว่างจำนวนเต็ม
จะได้
2.1 ถ้า |(+)| > |(-)| (+) + (-)
= |(+)| - |(-)| = (+)
2.2 ถ้า |(+)| < |(-)| (+) +(-)
= |(+)| - |(-)| = (-)
การหาผลลบของจำนวนเต็ม
สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ
หมายเหตุ จำนวนตรงข้ามของ a เขียนด้วย –a
จำนวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a)
การหาผลคูณของจำนวนเต็ม
1. การผลคูณของจำนวนเต็มบวก
จะได้ (+) x (+) = (+)
2. การผลคูณของจำนวนเต็มลบ
จะได้ (-) x (-) = (+)
3.การผลคูณของจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
จะได้ (+) x (-) = (-)
4.การหาผลคูณของจำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มบวก
จะได้ (-) x (+) = (-)
การหาผลหารของจำนวนเต็ม
สูตร ตัวตั้ง ตัวหาร
1. การผลหารของจำนวนเต็มบวก
(+) (+) = (+)
2. การหาผลหารของจำนวนเต็มลบ
(-) (-) = (+)
3. การผลหารระหว่างจำนวนต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
(+) (-) = (-)
4. การหาผลหารระหว่างจำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มบวก
(+) (-) = (-)
คุณสมบัติของจำนวนจริง
1. คุณสมบัติปิดของการบวก
a + b เป็นจำนวนจริง
2. คุณสมบัติของการคูณ
a x b เป็นจำนวนจริง
3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก
(a + b) + c = a + (b + c)
4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ
(a +b) x c = a x (b x c)
5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก
a + b = b + a
6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ
a x b = b x a
7. เอกลักษณ์การบวก
เอกลักษณ์ของการบวก คือ 0
0 + a = a = a + 0
8. เอกลักษณ์การคูณ
เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1
1 x a = a = a x 1
9. อินเวอร์สการบวก
อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a
(-a) + a = 0 = a + (-a)
10. อินเวอร์สการคูณ
อินเวอร์สของการคูณของของ a คือ [a 0] x a = 1 = a x
11. คุณสมบัติการแจกแจง
a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c)