ค้นหาข้อสอบ ในเว็บไซต์แห่งนี้

Tuesday, March 29, 2011

Re: แนวข้อสอบครูผู้ช่วย

ระบบจำนวน

การหา ห.ร.ม.
    
1.วิธีการแยกตัวประกอบ
        (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
        (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ำกันของแต่ละจำนวนมา ตัว แล้วคูณกันเป็น ห.ร.ม.
    2. วิธีการตั้งหารสั้น
        (1) นำตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม.     มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจำนวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจำนวนทุกตัวที่หา ห.ร.ม.     ลงตัวได้ทั้งหมด
        (2) นำตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด
การหา ค.ร.น.
    
1. วิธีการแยกตัวประกอบ
        (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจำนวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
        (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ำกันของแต่ละจำนวนมา ตัว     พร้อมทั้งหาตัวที่ไม่ซ้ำกันลงมาด้วยและนำมาคูณกันเป็น ค.ร.น.
    
2. วิธีการตั้งหารสั้น
        (1) นำตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น.     มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็นจำนวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลงตัวอย่างน้อย 2ตัว     หรือหากจำนวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหารต่อไปไม่ได้
        (2) นำตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด
ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
        (1) ให้ a, b เป็นเลข จำนวน โดย เป็น ห.ร.ม. และ เป็น ค.ร.น. ของ a,b ก็จะได้ว่า a x b = 
    c x d
        (2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน= 

        (3) ค.ร.น. ของเศษส่วน =

การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจำนวน
    1. จำนวนที่ หารลงตัวจะเป็นจำนวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม ด้วย
    2. จำนวนที่ หารลงตัวจะเป็นจำนวนที่นำแต่ละหลักของเลขจำนวนนั้นมาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3สามารถหารได้ลงตัวซึ่งนั่นคือจำนวนที่ สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ ไม่สามารถหารได้ลงตัวก็คือจำนวนนั้นสามารถที่จะนำ มาหารได้ลงตัว
    3. จำนวนที่ หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจำนวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0 เท่านั้น
คุณสมบัติของ 0, 1
    1. a + 0 = 0 + a = a
    2. a x 0 = 0 x a = 0
    3. a x 1 = 1 x a = a
    4. a 0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0
โดยกำหนดให้ แทนจำนวนใดๆ
คุณสมบัติการสลับที่ของการบวกการคูณ
    1. a + b = b + a
    2. a x b = b x a
โดยกำหนดให้ a, b = จำนวนใดๆ
คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวกการคูณ
    1. (a + b) + c = a + (b + c)
    2. (b + c) x c = a x (b x c)
โดยกำหนด a, b, c = จำนวนใดๆ
คุณสมบัติการแจกแจง
    1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c)
    2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a)
โดยกำหนดให้ a, b, c = จำนวนใดๆ
ข้อสังเกตในการบวกและคูณจำนวนเลขคู่และเลขคี่
    1. จำนวนคู่ + จำนวนคู่ = จำนวนคู่
    2. จำนวนคี่ + จำนวนคี่ = จำนวนคู่
    3. จำนวนคี่ + จำนวนคู่ = จำนวนคี่
    4. จำนวนคู่ + จำนวนคู่ = จำนวนคี่
    5. จำนวนคู่ จำนวนคู่ = จำนวนคู่
    6. จำนวนคี่ จำนวนคี่ = จำนวนคี่
    7. จำนวนคี่ จำนวนคู่ = จำนวนคู่
    8. จำนวนคู่ x จำนวนคี่ = จำนวนคู่
การหาผลบวกของจำนวนเต็ม
    
1. การหาผลบวกของจำนวนเต็มลบ
จะได้ (-) + (-) = (-)
   
 2. การหาผลบวกระหว่างจำนวนเต็ม
จะได้ 
         2.1 ถ้า |(+)| > |(-)| (+) + (-)
= |(+)| - |(-)| = (+)
        2.2 ถ้า |(+)| < |(-)| (+) +(-)
= |(+)| - |(-)| = (-)
การหาผลลบของจำนวนเต็ม
    สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ
หมายเหตุ จำนวนตรงข้ามของ เขียนด้วย –a 
จำนวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a)
การหาผลคูณของจำนวนเต็ม
    1. การผลคูณของจำนวนเต็มบวก
จะได้ (+) x (+) = (+)
    2. การผลคูณของจำนวนเต็มลบ
จะได้ (-) x (-) = (+)
    3.การผลคูณของจำนวนเต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
จะได้ (+) x (-) = (-)
    4.การหาผลคูณของจำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มบวก
จะได้ (-) x (+) = (-)
การหาผลหารของจำนวนเต็ม
    สูตร ตัวตั้ง ตัวหาร
    1. การผลหารของจำนวนเต็มบวก
(+) (+) = (+)
    2. การหาผลหารของจำนวนเต็มลบ
(-) (-) = (+)
    3. การผลหารระหว่างจำนวนต็มบวกและจำนวนเต็มลบ
(+) (-) = (-)
    4. การหาผลหารระหว่างจำนวนเต็มลบและจำนวนเต็มบวก
(+) (-) = (-)
คุณสมบัติของจำนวนจริง
    
1. คุณสมบัติปิดของการบวก
a + b เป็นจำนวนจริง
   
 2. คุณสมบัติของการคูณ
a x b เป็นจำนวนจริง
   
 3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก
(a + b) + c = a + (b + c)
  
  4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ
(a +b) x c = a x (b x c)
   
 5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก
a + b = b + a 
   
 6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ
a x b = b x a
   
7. เอกลักษณ์การบวก 
    เอกลักษณ์ของการบวก คือ 
0 + a = a = a + 0
   
8. เอกลักษณ์การคูณ 
   เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1
1 x a = a = a x 1
  
 9. อินเวอร์สการบวก 
   อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a
(-a) + a = 0 = a + (-a)
   
10. อินเวอร์สการคูณ 
อินเวอร์สของการคูณของของ คือ [a 0] x a = 1 = a x 
   
11. คุณสมบัติการแจกแจง
a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c)

No comments:

Post a Comment

ได้ข้อมูลแล้ว ก็ช่วยกันคอมเม้นด้วยนะค่ะ